ความหมายของอนุกรมเรขาคณิต
กำหนด a1, a1r, a1r2, …,
a1r n-1 เป็นลำดับเรขาคณิต
ซึ่งมี a1 เป็นพจน์แรก และ r เป็นอัตราส่วนร่วมของอนุกรมเรขาคณิต
ตัวอย่างของอนุกรมเรขาคณิต
1. 2 + 4 + 8 + 16 + … เป็น อนุกรมเรขาคณิต
เพราะ 2, 4, 8, 16, … เป็น ลำดับเรขาคณิต
และมีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ 2
2. 81 + 27 + 9 + 3 + … เป็น อนุกรมเรขาคณิต
เพราะ 81, 27, 9, 3, … เป็น ลำดับเรขาคณิต
3. 3 + 3 + 3 + 3 + … เป็น อนุกรมเรขาคณิต
เพราะ 3, 3, 3, 3, … เป็น ลำดับเรขาคณิต
และมีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ 1
รูปแบบของอนุกรมเรขาคณิต
เรียกว่า
r ว่า อัตราส่วนร่วม (Common Ratio)
เมื่อ
a,r เป็นค่าคงที่ a≠0 และ r อาจเป็นได้ทั้งค่าบวกและลบ
ตัวอย่างอนุกรมเรขาคณิตที่เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
ตัวอย่าง
7 จงแปลงทศนิยมไม่รู้จบแบบซ้ำต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปแบบเศษส่วนโดยใช้ความรู้เรื่องอนุกรมเรขาคณิต
1. 0.777… 2. 0.7888…
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น